สิ่งที่เรียนรู้
: กระบวนการเรียน
“รู้” แบบพุทธ
1.
มีสติ -> อยู่กับปัจจุบัน
-> อดีตผ่านไปแล้ว, ปัจจุบันเป็นรากฐานของอนาคต
2.
เริ่มจากง่ายไปยาก -> อนุปุพพิกถา
3.
คิด หรือ ทำ ทีละเรื่อง
4.
ทดลองทำให้เห็นจริงด้วยตนเอง จะเชื่อเรื่องอะไรให้ใช้หลักกาลามสูตร
(อัตตา หิ อัตตโน นาโถ ตนแลเป็นที่พึ่งแห่งตน)
5.
ทำซ้ำ ๆ จะเกิด ผลเอง
6.
คิดดี พูดดี ทำดี
7.
คิดเป็นประชาธิปไตย ทุกคนเท่าเทียมกัน
จุดสังเกต : จากสมาชิกแต่ละท่าน
1.
ปวดมากบ้างน้อยบ้าง -> ทนได้บ้างไม่ได้บ้าง
2.
ศรัทธามากบ้างน้อยบ้าง
3.
ได้ผลดีมากบ้างน้อยบ้าง
4.
หากมีปมในชีวิตไป แล้วตั้งเป้าแก้ไข จะพัฒนาได้เร็ว
ประโยชน์
1.
รู้ทันตัวเอง มี “สติ” : อยาก/ไม่อยาก, ชอบ/ไม่ชอบ เป็นต้น
2.
การเจริญวิปัสสนาฯ เป็น “เครื่องมือ” ตัวหนึ่ง ใช้เจริญสติ -> เกิดปัญญา
3.
ประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ในปัจจุบัน
a.
บริหารการงาน
b.
บริหารครอบครัว
c.
บริหารการเงิน
d.
บริหารชีวิต
4.
บางท่านอาจถึงนิพพาน ได้
5.
อินทรีย์ 5
อินทรีย์ 5 ประกอบด้วย ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ และ ปัญญา
อินทรีย์ คือ ความเป็นใหญ่
พละ คือ ความไม่หวั่นไหว
ศรัทธา คือ สัทธินทรีย์
มีความเป็นใหญ่
ในสภาพธัมมะของตนคือ น้อมใจเชื่อ
วิริยะ คือ วิริยินทรีย์
มีความเป็นใหญ่
ในการประคองไว้
สติ คือ สตินทรีย์
มีความเป็นใหญ่ในการระลึก
สมาธิ คือ สมาธินทรีย์
มีความเป็นใหญ่
ในการไม่ฟุ้งซ่าน
ปัญญา คือ ปัญญินทรีย์
มีความเป็นใหญ่ในการเห็นตามความเป็นจริง
อินทรีย์ 5 อุปมาดัง รถเทียมม้า 4
ตัว โดย...
·
นักขี่รถม้า คือ สติ
·
ม้า 4 ตัว คือ ศรัทธา วิริยะ สมาธิ ปัญญา
·
ศรัทธาต้องมีปัญญา คอยกำกับ
o ถ้ามีศรัทธามากไป อาจหลงงมงายง่าย
o ถ้ามีปัญญามาก ศรัทธาน้อย อาจเย่อหยิ่ง
ยะโส หลงตนเอง
·
วิริยะต้องมีสมาธิ คอยกำกับ
o ถ้ามีวิริยะมากไป ขยันมาก อาจงุ่นง่าน
ไม่ยอมหลับนอน
o ถ้ามีสมาธิมากไป
อาจหลงติดในความสงบมากไป อาจซึมๆ
·
สติ เป็นนักขี่รถม้า เป็น CEO คอยกำหนดให้ม้า 4
ตัววิ่งเสมอกัน
คำคมโดนใจ
1. มีเรือดีไม่ขี่ข้าม ไปเอาเรือรั่วน้ำมาข้ามขี่
2. ทำวันละนิด ดีกว่าคิดที่จะทำ
3. เมื่อสติไม่ติดตัว ความรู้ท่วมหัวก็เอาตัวไม่รอด
4. กายไม่ใช่ของเรา (แต่ทำไมเราปวดตลอด?)